รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

สร้างจากนิยายดัดแปลงต่อยอด เชอร์ล็อก โฮมส์ ของเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ โดยเป็นเรื่องราวของน้องสาว เอโนลา โฮมส์ ที่ออกเดินทางตามหาแม่ที่หายไปอย่างไร้ร่องรอย ดูหนังออนไลน์ ในขณะที่พี่ชายของเธอก็ตามหาอยู่ด้วยเช่นกันภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากนิยายชุด The Enola Holmes Mysteries ของผู้แต่ง Nancy Springer  ดูหนังฟรี โดยเป็นเล่มแรกที่ชื่อว่า The Case of the Missing Marquess ซึ่งก่อนหน้านี้ก็มีคดีความฟ้องร้องจากบริษัทดูแลผลประโยชน์ของโคนันดอยล์อยู่  ดูหนังออนไลน์ฟรีไม่มีโฆษณา

เรื่องราวเริ่มต้นขึ้นเมื่อเอโนลา โฮมส์ รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

น้องสาววัยรุ่นของเชอร์ล็อกรู้ว่าแม่หายตัวไป เธอก็ตั้งใจออกไปตามหาแม่ที่เลี้ยงดูเธอมาคนเดียวตลอด พร้อมทั้งฝึกทักษะความรู้การเอาตัวรอดต่างๆ ให้ตั้งแต่เด็ก ในขณะที่พี่ชายทั้งสองคน ไมครอฟต์ โฮมส์ กับ เชอร์ล็อกโฮมส์ ก็กลับเข้ามาในชีวิตของเธออีกครั้ง หลังจากไม่ได้พบหรือใส่ใจเธอตั้งแต่เด็กๆ แต่พี่ชายคนโต ไมครอฟต์ กลับเข้ามาบังคับให้เธอเข้าโรงเรียนกุลสตรี เพื่อให้กลับมาอยู่ในกรอบของสังคมอังกฤษในยุคนั้น ส่วนเชอร์ล็อกก็ออกสืบหาแม่ที่หายไป ในเวลาเดียวกับที่เอโนลาหนีออกจากบ้านไปตามสืบหาแม่ที่ลอนดอนเช่นกัน

รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

เล่าถึง เรื่องวุ่นๆของครอบครัวโฮล์มส์ เมื่อแม่ของเอโนลาหายตัวไป เธอจึงตามตัวพี่ชายทั้งสองของเธอกลับมาเพื่อสืบหา แต่หลายๆอย่างกลับไม่เป็นไปตามที่เธอคิด เมื่อไมครอฟ พี่ชายของเธอส่งเธอไปเรียนที่โรงเรียนอบรมกุลสตรี เธอจึงต้องหนีออกมาและออกเดินทางไปยังกรุงลอนดอนเพื่อตามหาแม่ตามลำพัง และการเดินทางเพื่อพิสูจน์ตัวเองของ เอโนลา โฮล์มส์ ก็เริ่มขึ้น

ต้องยอมรับว่านี่เป็นหนังของ NETFLIX ที่สนุกมากๆ ดูเพลินสุดๆ นี่มันดีงามเกินกว่าที่จะอยู่แค่ในระบบสตรีมมิ่งนะ คืออยากดูเรื่องนี้ในโรงฯมากอะ เรื่องเล่าออกมาได้สนุก ตัดต่อได้กระชับฉับไว ซาวน์ก็ดี CGก็สวย บอกเลบว่าชอบมาก ถึงแม้จะมีบางอย่างที่ดูไม่ค่อยสมจริงไปบ้าง แต่ด้วยความที่เป็นหนังเรท PG-13 ประกอบกับกิมมิคอย่างนึงในย่อหน้าถัดไป ทำให้เราไม่ควรจะไปสนใจความสมจริงอะไรมาก

อีกหนึ่งสิ่งที่เป็นจุดเด่นของเรื่องนี้คือ ตัวละคร เอโนลา โฮล์มส์

ที่แสดงโดยน้องมิลลี่ บ็อบบี บราวน์ คือแคสมาดีมาก วัยกำลังพอเหมาะ แล้วสิ่งที่ทำให้เป็นที่จดจำของหนังเรื่องนี้หลังจากดูจบคือ Break The Fourth Wall ของตัวละครนี้นี่แหละ คือมันเวิร์คมากที่ใส่กิมมิคนี้เข้ามา มันทำให้เรารู้ว่าตัวเอโนลายังมีความเป็นเด็กและในขณะเดียวกันก็พูดเก่งด้วย พอให้มาพูดกับคนดูตลอดทั้งเรื่อง ทำให้เราเหมือนมี Interact กับตัวละครและร่วมลุ้นไปกับเธอได้ไม่ยาก

เอโนลา โฮล์มส์ (มิลลี บ็อบบี บราวน์ จาก Stranger Things) เป็นน้องสาวสุดท้องในบรรดาพี่น้อง 3 คนของตระกูลโฮล์มส์

โดยมีพี่ชายคนโตเป็นขุนนางสุดเฮี้ยบนามว่า มายครอฟต์ (แซม คลาฟลิน จาก Me Before You) และมี เชอร์ล็อก (เฮนรี แควิลล์ จาก The Witcher) ผู้แหกคอกตระกูลแต่เป็นอัจฉริยะในการสืบสวนคดีที่โลกน่าจะรู้จักดีมาเป็นพี่ชายคนรอง โดยตัดเอา หมอวัตสัน คู่หูคนสนิทของโฮล์มส์ออกไป

รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

ชื่อของ Enola มาจากคำว่า Alone สะกดย้อนหลัง เพราะ Eudoria Holmes แม่ของเธอ (รับบทโดย Helena Bonham Carter) ชอบเกมสะกดคำมากจนหยิบทริกการเล่นมาใช้ตั้งชื่อ ในขณะเดียวกันชื่อนี้ก็บ่งบอกคาแร็กเตอร์ของเอโนลาเป็นอย่างดี เพราะพ่อของเธอตายตอนยังเด็ก พี่ชายทั้งสองก็ออกจากบ้านไปตั้งแต่จำความได้ ทั้งชีวิตของเธอมีแต่แม่คนเดียวเท่านั้น

แล้วพอถึงวันเกิดอายุ 16 ปีของเอโนลา แม่ของเธอก็หายตัวไปอีก นางสาวเอโนลาจึงกลายเป็นนางสาวอโลนอย่างเต็มตัว แม้จะได้พบพี่ชายทั้งสองซึ่งกลับบ้านมาดูแลเธอแทนแม่ ทว่าการปฏิบัติราวกับเธอเป็นภาระก็ทำให้เอโนลาเหงาขึ้นเท่าทวี นั่นคือเหตุผลที่ทำให้เธอ ‘เริ่มพูดกับคนดู’ เพื่อคลายความรู้สึกโดดเดี่ยว ในแง่การเล่าเรื่อง วิธีนี้เรียกว่า Break the 4th wall ซึ่งแบรดเบียร์-ผู้กำกับเคยใช้กับซีรีส์อย่าง Fleabag มาแล้ว พอหยิบมาใช้กับตัวละครนี้ก็ดูเป็นกิมมิกสนุกๆ ที่สมเหตุสมผล

นอกจากจะทำให้คนดูรู้สึกถึงความเปลี่ยวเหงาของเอโนลา การหันมาสนทนาเป็นช่วงๆ ของเธอก็ค่อยๆ สร้างความใกล้ชิดระหว่างเรากับเอโนลาทีละนิด จนเมื่อหนังดำเนินไปถึงช่วงท้ายสุด เราก็รู้สึกสนิทกับเธอโดยไม่รู้ตัว

ชื่อของ Enola มาจากคำว่า Alone สะกดย้อนหลัง เพราะ Eudoria Holmes แม่ของเธอ (รับบทโดย Helena Bonham Carter) ชอบเกมสะกดคำมากจนหยิบทริกการเล่นมาใช้ตั้งชื่อ ในขณะเดียวกันชื่อนี้ก็บ่งบอกคาแร็กเตอร์ของเอโนลาเป็นอย่างดี เพราะพ่อของเธอตายตอนยังเด็ก พี่ชายทั้งสองก็ออกจากบ้านไปตั้งแต่จำความได้ ทั้งชีวิตของเธอมีแต่แม่คนเดียวเท่านั้น

แล้วพอถึงวันเกิดอายุ 16 ปีของเอโนลา แม่ของเธอก็หายตัวไปอีก นางสาวเอโนลาจึงกลายเป็นนางสาวอโลนอย่างเต็มตัว แม้จะได้พบพี่ชายทั้งสองซึ่งกลับบ้านมาดูแลเธอแทนแม่ ทว่าการปฏิบัติราวกับเธอเป็นภาระก็ทำให้เอโนลาเหงาขึ้นเท่าทวี นั่นคือเหตุผลที่ทำให้เธอ ‘เริ่มพูดกับคนดู’ เพื่อคลายความรู้สึกโดดเดี่ยว ในแง่การเล่าเรื่อง วิธีนี้เรียกว่า Break the 4th wall ซึ่งแบรดเบียร์-ผู้กำกับเคยใช้กับซีรีส์อย่าง Fleabag มาแล้ว พอหยิบมาใช้กับตัวละครนี้ก็ดูเป็นกิมมิกสนุกๆ ที่สมเหตุสมผล

นอกจากจะทำให้คนดูรู้สึกถึงความเปลี่ยวเหงาของเอโนลา 

รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

การหันมาสนทนาเป็นช่วงๆ ของเธอก็ค่อยๆ สร้างความใกล้ชิดระหว่างเรากับเอโนลาทีละนิด จนเมื่อหนังดำเนินไปถึงช่วงท้ายสุด เราก็รู้สึกสนิทกับเธอโดยไม่รู้ตัว ในเส้นเรื่องที่ดำเนินไปของหนัง ภาพยนตร์ Enola Holmes เราจะได้เห็นขบวนการต่อสู้ของสตรีเพื่อให้ได้สิทธิในการเลือกตั้ง ซึ่งสมัยนั้นเป็นของที่ได้มาอย่างยากเย็น แม่ของเอโนลามีแผนการเพื่อเหล่าสตรีที่เอโนลาพยายามตามรอยอยู่ และมันก็น่าหวาดหวั่น นอกจากเรื่องของการเมืองที่สอดแทรกอยู่ในเนื้อเรื่องแล้ว เรายังจะได้เห็นการดิ้นรนให้เป็นอิสระของเอโนลาเอง ที่ต้องต่อรองกับพี่ชายทั้งสอง โดยเฉพาะไมครอฟท์ พี่ชายคนโตหัวโบราณที่พยายามจะจับเธอให้เข้ารูปเข้ารอยในโรงเรียนการเรือน

โดยลึกๆ ในใจเธออาจคิดว่ามันไม่เป็นธรรมสำหรับเธอเลย รีวิวหนังฝรั่ง Enola Holmes

แต่ผู้หญิงในสมัยนั้นไม่อาจมีปากมีเสียง นั่นอาจเป็นสาเหตุที่แม่ของเธอหนีไปเพื่อดำเนินตามแผนการ เพราะไม่อาจยอมส่งทอดสังคมแบบนี้ให้ลูกของเธอได้ วิธีการเล่าเรื่องของ หนัง ภาพยนตร์ Enola Holmes มีความน่าสนใจ เพราะมันทำลายกำแพงกั้นระหว่างตัวละครกับคนดูอยู่บ่อยๆ ด้วยการให้เอโนลาหันมาพูดกับกล้อง ถามความคิดเห็นของคนดู และเล่าเรื่องให้คนดูฟัง การแสดงของมิลลี บ็อบบี บราวน์นั้นไร้ที่ติ และแทบจะแบกหนังทั้งเรื่องเอาไว้ ผู้คนคงคุ้นเคยกับเธอในบทบาทจากเรื่อง Stranger Things แต่เธอสามารถสลัดบทบาทเด็กเก็บตัวออกไปได้อย่างหมดจด กลายมาเป็นนักสืบหญิงแห่งอังกฤษที่ช่างสังเกต ช่างพูด และใฝ่รู้ การลำดับภาพโดยเฉพาะฉากต่อสู้ทำได้อย่างสวยงามและลื่นไหล มีการตัดสลับระหว่างอดีตกับปัจจุบันที่ปูพื้นให้เรารู้จักเอโนลามากขึ้นผ่านงานภาพ ถือเป็นหนังที่เป็นมิตรกับคนดูและดูได้ทุกวัย ที่ไม่ควรพลาด

แม้จะพูดไม่บ่อยมากจนนับเป็นประโยคติดปากไม่ได้ แต่ประโยคนี้ของเชอร์ล็อก โฮล์มส์เวอร์ชั่นเฮนรี่ คาวิลล์ ก็น่าจดจำมากพอ เพราะนอกจากจะตอกย้ำคาแร็กเตอร์ของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ผู้เย็นชาในเวอร์ชั่นก่อนๆ ที่เราเคยดู ประโยคนี้ยังทำให้เราเห็นว่าตัวละครนี้ก็เข้าใจเรื่องหัวจิตหัวใจกับเขาเหมือนกัน เขามีมุมอ่อนไหวแค่แสดงออกไม่บ่อยเท่านั้น

แปลกดีเหมือนกันที่พอเชอร์ล็อกกลายเป็นคนมีหัวใจ Nancy Springer นักเขียนนิยายต้นฉบับ, แบรดเบียร์ ผู้กำกับ, Jack Thorne นักเขียนบทหนัง, Legendary และ Netflix ผู้สร้างเวอร์ชั่นนี้ก็โดน Plaintiff Conan Doyle Estate บริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ฟ้องร้องว่าการทำให้คาแร็กเตอร์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ซึ่งเป็น ‘คนเย็นชา ไร้ความรู้สึก ชังผู้หญิง ไม่สามารถผูกมิตรกับใคร’ ให้กลายเป็นคนอบอุ่นและใจดีกับน้องสาวนั้นเป็นการฝ่าฝืนลิขสิทธิ์

อันที่จริง เชอร์ล็อก โฮล์มส์ คือวรรณกรรมที่กลายเป็นทรัพย์สินสาธารณะมาตั้งนานนม

แต่เวอร์ชั่นของเฮนรี่ คาวิลล์ ในเรื่องนี้ดันเป็นเชอร์ล็อกที่อยู่ในยุคปี 1884 (ยังไม่เจอ John Watson คู่หูของเขา) มันดันไปตรงกับช่วงเวลาในนิยาย 10 เรื่องสุดท้ายของ Conan Doyle เป๊ะ (ตีพิมพ์ระหว่างปี 1923 ถึง 1927) ซึ่งจะกลายเป็นทรัพย์สินสาธารณะในปี 2022 นู่น ประเด็นคือใน 10 เรื่องสุดท้ายนั้น ดอยล์เขียนโฮล์มส์ให้เป็นคนมีหัวจิตหัวใจแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน

ซึ่งตรงกับเชอร์ล็อก โฮล์มส์ใน Enola Holmes และนั่นคือเหตุผลที่โดนฟ้อง ถึงตอนนี้การฟ้องร้องยังไม่ได้ข้อสรุป แต่ไม่ว่าฝ่ายไหนจะชนะหรือแพ้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าโฮล์มส์เวอร์ชั่นคาวิลล์นั้นมอบอีกแง่มุมของตัวละครซึ่งน่าสนใจ เป็นโฮล์มส์แบบอบอุ่นก็มีเสน่ห์ไม่ต่างจากเวอร์ชั่นเย็นชาเลยนะ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *